รุ่น 100 ปี
พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรังสี)
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรังสี)
รูปแบบพิมพ์รูปหมือนใหญ่ คือเป็นพิมพ์รูปเหมือนสมเด็จฯ โต นั่งขัดสมาธิเพ็ชร ในระฆัง รายละเอียดพิมพ์คมชัดลึก รูปองค์สมเด็จฯ โต นูนสูงกว่าระฆังดูมีมิติ ขอบข้างมักจะหนา เนื้อมวลสารขาว หรือขาวอมเหลืองเล็กน้อย ผิวเรียบแน่นค่อนข้างใส น้ำมันเคลือบผิวบางๆ ผิวแห้งนุ่มเกิดรอยหดย่นตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 2 พิมพ์หลักๆ ได้แก่ พิมพ์หน้าใหญ่ และพิมพ์หน้าเล็ก
ซึ่งพิมพ์หน้าใหญ่สามารถแบ่งออกได้เป็นอีก 5 แบบพิมพ์ ดังที่จะได้กล่าวต่อไป
(รูป1) พิมพ์หน้าใหญ่
(รูป2) พิมพ์หน้าเล็ก
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 1 (นิยม)
ห่วงลึก รูห่วงแคบ ขอบแบน
พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่กดพิมพ์ได้ลึดชัดมากกว่าทุกพิมพ์ ทำให้ดูใบหน้าสมเด็จฯ โต เรียวเล็ก ดูเข้มขรึมน่าเกรงขาม มีรายละเอียดของพิมพ์ติดชัดเจนครบถ้วน พื้นพิมพ์เรียบแน่น สวยงาม
จุดสำคัญ รูห่วงด้านในแคบเล็กกว่าทุกพิมพ์ และขอบห่วงแบน แน่นตึง
(รูป1.1) รูห่วงลึก และแคบ ขอบห่วงแบน (จุดสำคัญ)
(รูป1.2) พระพักตร์ลึก รายละเอียดติดชัด ใบหูติดชัดทั้ง 2 ข้างติดชัด
1.3 บริเวณไหล่ด้านซ้ายองค์พระ สังฆาฏิโค้ง
(รูป2 และ 5)ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 2
ห่วงลึก รูห่วงกว้าง ขอบแบน
พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่กดพิมพ์ได้ลึดชัด มีรายละเอียดของพิมพ์ติดชัดเจนครบถ้วน จุดสังเกตุสำคัญคือ รูห่วงด้านในจะกว้างกว่าพิมพ์นิยม และขอบห่วงแบน แน่นตึง สังฆาฏิเป็นแบบโค้ง
(รูป1.1) รูห่วงลึก และกว้าง ขอบห่วงแบน (จุดสำคัญ)
(รูป1.2) ลักษณะพระพักตร์ติดชัดครบถ้วน สังเกตุใบหูแต่ละแม่พิมพ์จะแตกต่างกัน
(รูป1.3) สังฆาฏิโค้ง
(รูป1.4) ฝ่าเท้าด้านขวาหงายขึ้น องค์ที่ติดชัดจะเห็นนิ้วเท้าชัดเจน
(รูป2 และ 5) ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 3
ห่วงลึก ขอบห่วงกลม
พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่กดพิมพ์ได้ลึดชัด มีรายละเอียดของพิมพ์ติดชัดเจนครบถ้วน จุดสังเกตุสำคัญคือ ขอบห่วงกลม สังฆาฏิเป็นแบบโค้ง ฝ่าเท้าด้านขวาตะแคงข้าง องค์ที่ติดชัดจะเห็นนิ้วเท้าชัดเจน
(รูป1.1) รูห่วงลึก ขอบห่วงกลม (จุดสำคัญ)
(รูป1.2) ลักษณะพระพักตร์ติดชัดครบถ้วน สังเกตุใบหูแต่ละแม่พิมพ์จะแตกต่างกัน
(รูป1.3) สังฆาฏิโค้ง
(รูป1.4) ฝ่าเท้าด้านขวาตะแคงข้าง องค์ที่ติดชัดจะเห็นนิ้วเท้าชัดเจน
(รูป2 และ 5) ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 4
ห่วงลึก สังฆาฏิตรง
พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่กดพิมพ์ได้ลึดชัด มีรายละเอียดของพิมพ์ติดชัดเจนครบถ้วน เป็นพิมพ์ที่พบเห็นได้น้อยที่สุดในบรรดากลุ่มพิมพ์รูปเหมือน และมีลูกนัยน์ตากลมโตกวาพิมพ์อื่นๆ อีกด้วย จุดสังเกตุสำคัญคือ รูห่วงลึก ขอบห่วงแบน สังฆาฏิเป็นแบบตรง ฝ่าเท้าด้านขวาหงายขึ้น
(รูป1.1) รูห่วงลึก ขอบห่วงแบน (จุดสำคัญ)
(รูป1.2) ลักษณะพระพักตร์ติดชัดครบถ้วน ลูกนัยน์ตากลมโต เปลือกตา 2 ชั้น หางตายาว และใบหูติดชัดทั้ง 2 ข้าง
(รูป1.3) สังฆาฏิตรง (จุดสำคัญ)
(รูป1.4) ฝ่าเท้าด้านขวาหงายขึ้น
(รูป2 และ 5) ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 5
ห่วงตื้น
ส่วนใหญ่พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่ขอบข้างค่อนข้างหนาเป็นพิเศษ รายละเอียดพิมพ์จะตื้นกว่าพิมพ์หน้าใหญ่แม่พิมพ์อื่นๆ จุดสังเกตุสำคัญคือ รูห่วงตื้น ขอบห่วงแบน สังฆาฏิเป็นแบบโค้ง
(รูป1.1) รูห่วงตื้น ขอบห่วงแบน (จุดสำคัญ)
(รูป1.2) พระพักตร์ตื้น ใบหูมักติดไม่ชัด
(รูป1.3) ผ้ารัดประคด ลักษณะผูกเป็นปมเล็กๆ
(รูป1.4) เส้นซุ้มระฆังด้านขวาองค์พระตัดเฉียง
(รูป2.1-2.2) ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์หน้าใหญ่ แบบที่ 5
ห่วงตื้น
ส่วนใหญ่พิมพ์นี้เป็นพิมพ์ที่ขอบข้างค่อนข้างหนาเป็นพิเศษ รายละเอียดพิมพ์จะตื้นกว่าพิมพ์หน้าใหญ่แม่พิมพ์อื่นๆ จุดสังเกตุสำคัญคือ รูห่วงตื้น ขอบห่วงแบน สังฆาฏิเป็นแบบโค้ง
1.รูห่วงตื้น ขอบห่วงแบน (จุดสำคัญ)
2.พระพักตร์ตื้น ใบหูมักติดไม่ชัด
3.เส้นซุ้มระฆังด้านใน มีจุดเนื้อเกิน
4.มีจุดเนื้อเกิน ใต้หน้าแข้งซ้ายองค์พระ
3.1.เส้นซุ้มระฆังด้านขวาองค์พระตัดเฉียง
3.2.หัวฐานซุ้มระฆังด้านขวาองค์พระ มีเนื้อเกินเป็นปลายแหลมไปชนขอบองค์พระ
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์นี้สังเกตุว่าจะเป็นพิมพ์ที่มีพระพักตร์เล็กที่สุด และใบหูทั้ง 2 ข้างเล็ก พื้นในรูห่วงลึก ขอบห่วงมีทั้งกลมและแบน สังฆาฏิเป็นแบบโค้ง
(รูป1.1) รูห่วงลึก
(รูป1.2) พระพักตร์เล็ก สังเกตุพิมพ์นี้ใบหูด้านซ้ายจะสั้นกว่าด้านขวา
(รูป1.3) สังฆาฏิโค้ง
(รูป1 และ 4) ขนาดเท่าองค์จริง ประมาณ 2.6 X 4.1 ซ.ม.
++++++++++++++++++++++++++++++++++
พิมพ์รูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหฺมรังสี)
สภาพต่างๆ
++++++++++++++++++++++++++++++++++